ไวร์เมชไฟเบอร์
ไวร์เมชไฟเบอร์ คือการนำไฟเบอร์ชนิดหน่ึง ซึ่งเป็นไฟเบอร์ ประเภท FRP ( Fiber Reinforce Polymer ) คือ พอลิเมอร์เสริมไฟเบอร์ มาทำการเชื่อมติดกันเป็นแผง คล้ายกับไวร์เมชประเภทเหล็ก และนำไปใช้งานเหมือนกับเหล็กไวร์เวช แต่มีข้อดีกว่าหลายอย่างเช่น น้ำหนักเบา ขนส่งง่าย ไม่เกิดสนิม เป็นต้น
ไวร์เมชไฟเบอร์มีทั้งแบบม้วนและแบบแผง เหมือนกับไวร์เมชแบบเหล็กปกติ
คุณสมบัติของ Wire Mesh Fiber
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีราคาถูกกว่าเหล็ก
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่ขนาดเท่ากันทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ (High Tensile strength)
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์มีแรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม.ทำให้ยึดติดกับคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก (High Bonding strength)
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีอัตราการขยายตัว 2 – 6% เท่าคอนกรีตทำให้ลดโอกาสการแตกร้าว
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ น้ำหนักเบากว่าเหล็ก 7 เท่า
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีน้ำหนักเบาทำให้สามารถขนส่งได้ครั้งละจำนวนมากลดค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ง
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีน้ำหนักเบาทำให้ใช้งานง่ายและประหยัดแรงงานในการติดตั้ง
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ลดเวลาในการทำงาน
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัด ผูก ประหยัดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ผลิตได้หน้ากว้าง , ความยาว ตามต้องการทำให้ลดการสูญเสียระยะการต่อทาบ
Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ระยะการต่อทาบ 1 ช่องตะแกรง
ลดต้นทุน การก่อสร้างด้วย นวัตกรรม FRP ไวร์เมชไฟเบอร์ ,รีบาร์ไฟเบอร์ ( Wiremesh Fiber , Rebar Fiber )
Fiber Rebar และ Wiremesh Fiber เกิดจากการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องของเส้นใยชนิดพิเศษคุณภาพสูงผสมกับเคมีคุณภาพสูง ผ่านกระบวนการขึ้นรูปจากของเหลวเป็นของแข็งด้วยระบบความร้อน ( Thermosetting ) ทำให้ได้วัสดุที่มีความแข็งและเหนียวที่มีคุณสมบัติใช้งานทดแทนเหล็กข้ออ้อยก่อสร้างในงานคอนกรีตไม่อัดแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม มาตรฐาน มอก.2973/2562
ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด ( Substitute for steel rebar )
ไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน
รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่มีขนาดเท่ากัน ทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ ( High Tensile Strength )
แรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. ทำให้ยึดติดคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก ( High Bonding Strength )
อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง
น้ำหนักเบา Light weight ใช้งานง่าย ประหยัดแรงงานในการก่อสร้าง ประหยัดเวลาในการทำงาน
ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัดผูก ทำให้เกิดการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
ไม่นำความร้อนและกระแสไฟฟ้า วัสดุมีความเป็นฉนวนไม่สะสมความร้อนและไม่นำกระแสไฟฟ้า
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
จัดเก็บขนส่งสะดวก สามารถจัดส่งเป็นม้วนและขนส่งได้ในปริมาณมาก ลดต้นทุนค่าขนส่ง
ผลิตได้ตามความต้องการ สามารถสั่งผลิตได้ตามขนาดที่ลูกค้าต้องการเพื่อลดประมาณของเสีย
ผล TEST Wiremesh Fiber
ผลทดสอบคุณสมบัติด้านแรงดึงของ Rebar Fiber
AIT (Asian Institute of Technology. )
Thammasat University Faculty of Engineering Civil Engineering Laboratory.
คุณสมบัติของ FRP Rebar , Rebar Fiber
ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก. (Substitute for steel rebar) มีผลทดสอบจาก AIT และ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Rebar Fiber มีราคาถูกกว่าเหล็ก
Rebar Fiberไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน
Rebar Fiber รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่ขนาดเท่ากันทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ (High Tensile strength)
Rebar Fiber มีแรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม.ทำให้ยึดติดกับคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก (High Bonding strength) Rebar Fiber มีอัตราการขยายตัว 2 – 6% เท่าคอนกรีตทำให้ลดโอกาสการแตกร้าว
Rebar Fiber อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง
Rebar Fiber น้ำหนักเบากว่าเหล็ก 7 เท่า
Rebar Fiber มีน้ำหนักเบาทำให้สามารถขนส่งได้ครั้งละจำนวนมากลดค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ง
Rebar Fiber มีน้ำหนักเบาทำให้ใช้งานง่ายและประหยัดแรงงานในการติดตั้ง
Rebar Fiber ลดเวลาในการทำงาน
Rebar Fiber ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัด ผูก ประหยัดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
Rebar Fiber ผลิตได้ความยาวตามต้องการทำให้ลดการสูญเสียระยะการต่อทาบ
Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ แบบม้วน และ แบบแผง
การใช้งาน Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ นั้น จะเป็นการเทียบใช้กับขนาดความโตของเหล็กเส้น หรือ เทียบใช้กับขนาดความโต ของไวร์เมชเหล็ก ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบคำนวณการรับแรงดึงของการนำมาใช้งาน โดยขนาดของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์นั้นจะมีขนาดเล็กกว่า เนื่องจากมีแรงดึงที่สูงกว่าเหล็กเส้นถึง 2 เท่า ในขนาดความโตเท่ากัน
1. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 2.8 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB4 SR24 ผิวเรียบ
ขนาดและช่องตะแกรง Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 2.8mm.@15×15
CB 2.8mm.@20×20
CB 2.8mm.@25×25
CB 2.8mm.@30×30
2. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 3.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB6 SR24 ผิวเรียบ หรือ CCD4 SD55
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 3.5 mm.@15×15
CB 3.5 mm.@20×20
CB 3.5 mm.@25×25
CB 3.5 mm.@30×30
3. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 4.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น CCD6 SD55 ข้ออ้อย
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 4.5 mm.@15×15
CB 4.5 mm.@20×20
CB 4.5 mm.@25×25
CB 4.5 mm.@30×30
4. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 5.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB9 SR24 ผิวเรียบ หรือ CCD7 SD55
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 5.5 mm.@15×15
CB 5.5 mm.@20×20
CB 5.5 mm.@25×25
CB 5.5 mm.@30×30
5. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 6.7 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น CCD8.7 SD55 ข้ออ้อย
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 6.7 mm.@15×15
CB 6.7 mm.@20×20
CB 6.7 mm.@25×25
CB 6.7 mm.@30×30
6. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 7.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น DB10 SD40
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 7.5 mm.@15×15
CB 7.5 mm.@20×20
CB 7.5 mm.@25×25
CB 7.5 mm.@30×30
7. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 10 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น DB12 SD40
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 10 mm.@15×15
CB 10 mm.@20×20
CB 10 mm.@25×25
CB 10 mm.@30×30
ลักษณะการใช้งานไวร์เมชไฟเบอร์
ไวร์เมชไฟเบอร์ใช้งานแบบเดียวกับไวร์เมชแบบเหล็ก คือใช้รองพื้นก่อนเทคอนกรีต
ประเภทของไวร์เมชไฟเบอร์
ไวร์เมชไฟเบอร์แบบม้วน
ไวร์เมชไฟเบอร์แบบแผง
ไวร์เมชไฟเบอร์แบบม้วน
Wiremesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ สำเร็จรูป ชนิดม้วน ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด แรงยึดเหนี่ยว 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. สั่งผลิตได้ตามขนาดที่ต้องการ
ไวร์เมชไฟเบอร์ แผง
Wiremesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ สำเร็จรูป ชนิดแผง ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด แรงยึดเหนี่ยว 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. สั่งผลิตได้ตามขนาดที่ต้องการ
การใช้งานไวร์เมชไฟเบอร์
#ไวร์เมชไฟเบอร์ #ไฟเบอร์ไวร์เมช